สิทธิทางภาษีเขตนิคมอุตสาหกรรมส่งออก

เขตประกอบการเสรี (FREETRADE ZONE) พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2522จัดตั้งการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทยขึ้นเปน รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีชื่อยอวา “กนอ.” มีวัตถุประสงคใน การจัดตั้งหลายประการ โดยเริ่มจากการจัดหาที่ดินที่เหมาะสมเพื่อจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรม หรือเพื่อดําเนินธุรกิจอื่นที่จะเปนประโยชนดําเนินการปรับปรุงที่ดินเพื่อใหบริการตลอดจนจัดสิ่งอํานวย ความสะดวกในการดําเนินงานรวมทั้งสาธารณูปโภคตางๆใหแกผูประกอบกิจการอุตสาหกรรมในเขต นิคมอุตสาหกรรมพื้นที่เขตนิคมอุตสาหกรรมแบงออกเปน2 ลักษณะ คือ พื้นที่เขตอุตสาหกรรมทั่วไป อันเปนเขตพื้นที่ที่กําหนดไวสําหรับการประกอบอุตสาหกรรมและกิจการ อื่นที่เปนประโยชนหรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรม พื้นที่เขตอุตสาหกรรมสงออก อันเปนเขตพื้นที่ที่กําหนดไวสําหรับการประกอบอุตสาหกรรม การคา หรือบริการ เพื่อสงสินคาออกไปจําหนายยังตางประเทศและกิจการอื่นที่เปนประโยชนหรือเกี่ยวกับการ ประกอบอุตสาหกรรมการคาหรือบริการเพื่อสงสินคาออกไปจําหนายยังตางประเทศ ในปจจุบันเขตอุตสาหกรรมสงออก ที่มีสํานักงานศุลกากรตั้งอยูมี10แหง ไดแก 1.นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง (กรุงเทพฯ) 2. นิคมอุตสาหกรรมบางปู (สมุทรปราการ) 3. นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (ลําพูน) 4. นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (ชลบุรี) 5. นิคมอุตสาหกรรมบอวิน (ชลบุรี) 6. นิคมอุตสาหกรรมบานหวา (อยุธยา) 7. นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน (อยุธยา) 8. นิคมอุตสาหกรรมแปลงยาว (เกตเวยซิติ ฉะเชิงเทรา) 9.นิคมอุตสาหกรรมสงออกภาคใต (สงขลา) 10. นิคมอุตสาหกรรมพิจิตร (พิจิตร) โดยที่การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยไดใหสิทธิประโยชนทางดานภาษีอากรแกผูประกอบการใน เขตอุตสาหกรรมสงออกในนิคมอุตสาหกรรมของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรมศุลกากรซึ่ง มีหนาที่ในการควบคุมดูแลและรับผิดชอบในเรื่องภาษีอากรของรัฐและเพื่อการสงเสริมการสงออกแก ผูประกอบการทั้งในเขตอุตสาหกรรมทั่วไปและเขตอุตสาหกรรมสงออก จึงตองกําหนดระเบียบปฏิบัติ สําหรับการปฏิบัติในเขตนิคมอุตสาหกรรมไว พิธีการศุลกากรที่ควรทราบสําหรับผูประกอบการในเขตนิคมอุตสาหกรรม (1) พิธีการศุลกากรในเขตอุตสาหกรรมสงออก 1.1 ผูประกอบการยื่นใบขนสินคาขาเขาเพื่อนําของเขาไปในเขตอุตสาหกรรมสงออกโดยตองมีหนังสือ รับรองจากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย(กนอ.)วาเปนผูประกอบการในเขตอุตสาหกรรม สงออกแนบมาดวยสวนกรณีเปนการนําเขาตามมาตรา48แหงพ.ร.บ.การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทยพ.ศ.2522ตองมีหนังสือยกเวนอากรจากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยเพิ่มเติมดวย 1.2 ผูนําของเขาซึ่งการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยมีหนังสือรับรองวาเปนผูประกอบการในนิคม อุตสาหกรรมซึ่งเปนผูดําเนินการขนยายสินคาจะตองทําหนังสือสัญญาประกันไวกับกรมศุลกากรตาม แบบที่กําหนดและการขนสงตองไปตามเสนทางที่กรมศุลกากรกําหนดดวย (2) พิธีการศุลกากรในเขตอุตสาหกรรมทั่วไป ถาผูประกอบการในเขตอุตสาหกรรมทั่วไปประสงคจะปฏิบัติพิธีการ ณ สํานักงานศุลกากรประจํานิคม อุตสาหกรรมใหปฏิบัติเชนเดียวกับพิธีการศุลกากรในเขตอุตสาหกรรมสงออก โดยมีหลักฐานแสดงวา เปนผูประกอบการเขตอุตสาหกรรมทั่วไปของการนิคมอุตสาหกรรมมาแสดงตอเจาหนาที่ดวย (3) ความรับผิดชอบในการขนสิ่งออกจากทาหรือที่นําเขามายังนิคมอุตสาหกรรม ผูนําของเขาจะตองเปนผูรับผิดชอบหากเกิดความเสียหายตอคาภาษีอากร คาภาระติดพันหรือความ เสียหายอื่นใดตามที่ไดทําสัญญาประกันไวตอกรมศุลกากร (4) การนําของออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อใชหรือจําหนายในประเทศ 4.1 ผูประกอบการสามารถนําของออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อใชหรือจําหนายในประเทศได โดยผูมีภาระหนาที่ในการชําระคาภาษีอากรตองยื่นใบขนสินคาขาเขาและหนังสืออนุญาตการนําของ ออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อใชหรือจําหนายในประเทศของ กนอ. ตอสํานักงานศุลกากรประจํา นิคมฯ 4.2 สําหรับบัญชีราคาสินคา ใหสําแดงราคาซื้อขายเปนเงินบาท โดยกรมศุลกากรจะดําเนินการกับใบ ขนสินคาขาเขาเสมือนหนึ่งการนําของเขาจากตางประเทศ และของนั้นจะตองเสียคาธรรมเนียมพิเศษ ตามกฏหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน อากรขาเขา และภาษีสรรพสามิต ภาษีเพื่อมหาดไทย และ ภาษีมูลคาเพิ่มตามสภาพ ราคา และอัตราภาษีอากรที่เปนอยูในวันที่นําของออกจากเขตอุตสาหกรรม สงออก โดยถือเสมือนวาไดนําเขามาในราชอาณาจักรในวันที่นําออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออก 4.3 ราคาพึงประเมินหรือราคาที่ใชเปนเกณฑคํานวณคาภาษีอากร สําหรับของที่นําออกจากเขต อุตสาหกรรมสงออก เพื่อใชหรือจําหนายในราชอาณาจักรนั้น ใหใชราคาศุลกากร ตามมาตรา 2แหง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2469 (5) การสงของออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกไปแสดงตางประเทศโดยสวนราชการ 5.1 ผูประกอบการสามารถนําของออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อสงออกไปแสดงตางประเทศโดย สวนราชการ ทั้งนี้ ผูประกอบการดังกลาวตองไดรับอนุญาตจาก กนอ. ใหสงของไปแสดง ณ ตางประเทศในนามของสวนราชการ และยื่นคําขอตามแบบที่กรมศุลกากรกําหนด พรอมสําเนา 1 ฉบับ ตอหนวยงานพิธีการประจํานิคมอุตสาหกรรมตรวจสอบ พรอมทั้ง ทําสัญญาประกันตอกรมศุลกากร ตามแบบที่กําหนด ทั้งนี้ เงินประกันตามสัญญาประกันจะตองใหคุมคาภาษีอากรของของตามรายการ ในหนังสือที่ยื่นตอกรมศุลกากรโดยบวกเพิ่มอีกรอยละ 20และใหผูประกอบการค้ําประกันตนเองได 5.2 เมื่อสํานักงานศุลกากรประจํานิคมอุตสาหกรรม พิจารณาอนุญาตแลวจะคืนตนฉบับหนังสือใหคืน แกผูประกอบการเพื่อใชกํากับของที่นําออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกนําสงมอบตอสวนราชการเพื่อ สงออกไปนอกราชอาณาจักร 5.3 เมื่อสวนราชการนั้นๆ ไดสงของออกไปนอกราชอาณาจักรแลว ผูประกอบการตองยื่นหนังสือรับรอง ของสวนราชการนั้นวาไดสงของออกไปจริงตอสํานักงานศุลกากรประจํานิคมอุตสาหกรรม ภายใน 30 วัน นับแตวันที่สวนราชการนั้นๆ ไดสงของออก มิฉะนั้น ใหถือวาผิดสัญญาประกันและกรมศุลกากรจะ ดําเนินการบังคับสัญญาประกันทันที (6) การนําของออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อการอื่นเปนการชั่วคราว 6.1 ผูประกอบการสามารถนําของในเขตอุตสาหกรรมสงออก ออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกเปนการ ชั่วคราว เพื่อซอมแซม ดัดแปลง ปรับปรุง หรือเพื่อการอื่นตามความจําเปน ไดโดยยื่นคํารองตอ สํานักงานศุลกากรประจํานิคมอุตสาหกรรม และทําสัญญาประกันตอกรมศุลกากร ตามแบบที่กําหนด ทั้งนี้ เงินประกันตามสัญญาประกันจะตองใหคุมคาภาษีอากรของตามรายการในคํารอง โดยบวกเพิ่ม อีก รอยละ 20 6.2 กรณีผูประกอบการไมสามารถนําของที่นําออกไปจากเขตอุตสาหกรรมสงออกกลับเขาไปในเขต อุตสาหกรรมสงออกตามคํารับรองที่ใหไวผูประกอบการนั้นสามารถยื่นคํารองขอขยายระยะเวลานําของ กลับเขามาในเขตอุตสาหกรรมสงออกไดเพียงครั้งเดียว และมีระยะเวลาไมเกินกวาที่ขอนําของออกไป ในครั้งกอนเวนแตมีเหตุจําเปนอันสมควรก็ใหขยายระยะเวลาเกินกวา 1 ครั้ง 6.3 ถาผูประกอบการรายใดไมปฏิบัติตามคํารับรองที่ใหไว ผูประกอบการรายนั้นตองชําระคาภาษีอากร พรอมเงินเพิ่มรอยละ 1 ตอเดือน นับจากวันที่นําของออกจนถึงวันที่นําเงินมาชําระใหเสร็จสิ้นภายใน 15 วัน นับแตวันที่ครบกําหนด (7) การนําสินคาในราชอาณาจักรเขาไปในเขตอุตสาหกรรมสงออกผูประกอบการสามารถการนําสินคา ในราชอาณาจักรเขาไปในเขตอุตสาหกรรมสงออกไดโดยยื่นคํารองขอนําสินคาในราชอาณาจักรเขาไป ในเขตอุตสาหกรรมสงออก(กศก.122) ตอเจาหนาที่ศุลกากรประจํานิคมอุตสาหกรรม (8)ของที่นําเขาเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อซอมและนํากลับออกไปโดยยกเวนอากรตาม พ.ร.บ. พิกัด อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ภาค 4 ประเภท 2 จะตองเปนของที่นําเขามาในราชอาณาจักรโดยชําระภาษี อากรครบถวนแลว และจะตองไดรับอนุญาตจากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ดวย (9)ของที่นําเขาเขตอุตสาหกรรมสงออกและนํากลับเขามาในราชอาณาจักร โดยไดรับยกเวนอากร ของ ในราชอาณาจักรหรือของจากตางประเทศที่นําเขามาในราชอาณาจักรและไดชําระอากรแลว หาก นําเขาในเขตอุตสาหกรรมสงออก และภายหลังนําออกจากเขตอุตสาหกรรมสงออกกลับเขามาใชใน ราชอาณาจักร โดยไมเปลี่ยนแปลงลักษณะหรือรูปรางแตอยางใด จะไดรับการยกเวนอากร ทั้งนี้ จะตอง มีหนังสืออนุญาตจากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยมาแสดงดวย สิทธิประโยชนดานภาษีอากรสําหรับผูประกอบการในเขตนิคมอุตสาหกรรม (1) ไดรับยกเวนคาธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน อากรขาเขา ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีสรรพสามิตสําหรับเครื่องจักร อุปกรณเครื่องมือและเครื่องใช รวมทั้ง สวนประกอบของสิ่งของดังกลาวที่จําเปนในการผลิตและของที่ใชในการสรางโรงงาน หรืออาคาร (2) ไดรับยกเวนคาธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุนรวมทั้งอากรขาเขา ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีสรรพสามิตสําหรับของที่นําเขามาเพื่อใชในการผลิตสินคา (3) ไดรับยกเวนอากรขาออกภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีสรรพสามิตสําหรับของซึ่งไดนําเขามาตามมาตรา 49แหงพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2522 รวมทั้งผลิตภัณฑสิ่งพลอยได และสิ่งอื่นที่ไดจากการผลิตแลวสงออก (4) ไดรับยกเวนหรือคืนคาภาษีอากรสําหรับของที่มีบทบัญญัติแหงกฏหมายใหไดรับยกเวน หรือคืนคา ภาษีอากร เมื่อไดสงออกไปนอกราชอาณาจักร หรือ หากผูประกอบการที่ไดรับยกเวนอากรสําหรับ วัตถุดิบตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 หรือผูประกอบการที่เปนคลังสินคาทัณฑบน ประเภทโรงผลิตสินคาตามมาตรา 8 ทวิ (2) แหงพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 หรือ ผูประกอบการที่ไดรับสิทธิคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ แหงพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2482 สงของเขาไปในเขตอุตสาหกรรมสงออก จะไดรับยกเวนคาภาษีอากรหรือคืนคาภาษีอากร เชนเดียวกับการสงออกไปนอกราชอาณาจักร (5) การขายสินคาหรือการใหบริการระหวางผูประกอบการที่อยูในเขตอุตสาหกรรมสงออก ไมวาจะอยู ในเขตอุตสาหกรรมเดียวกันหรือไมก็ตาม ชําระภาษีมูลคาเพิ่มในอัตราศูนย (6) การขายสินคาหรือการใหบริการระหวางคลังสินคาทัณฑบนกับผูประกอบการที่อยูในเขต อุตสาหกรรมสงออก ชําระภาษีมูลคาเพิ่มในอัตราศูนย (7) การนําของในประเทศเขาไปในเขตอุตสาหกรรมสงออก ชําระภาษีมูลคาเพิ่มในอัตราศูนย โดยถือวา เปนการสงออก สอบถามขอมูลเพิ่มเติม หากผูประกอบการตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักเกณฑการ จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม โปรดติดตอโดยตรงที่การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยหรือหากมีขอสงสัย เกี่ยวกับพิธีการศุลกากรสําหรับของนําเขาที่ไดรับสิทธิประโยชนทางดานภาษีอากรในเขตนิคม อุตสาหกรรมของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โปรดติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ – สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิประโยชนทางภาษีอากร โทร.0-2249-4855 – ฝายเขตอุตสาหกรรมสงออกนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิประโยชน ทางภาษีอากร โทร. 0-2326-0225 – ฝายเขตอุตสาหกรรมสงออก นิคมอุตสาหกรรมบางปู สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิประโยชนทาง ภาษีอากร โทร 0-2324-0362 – ฝายเขตอุตสาหกรรมสงออก นิคมอุตสาหกรรมบางประอิน สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิ ประโยชนทางภาษีอากร โทร 0-3525-8414 – ฝายเขตอุตสาหกรรมสงออก นิคมอุตสาหกรรมบานหวา สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิประโยชน ทางภาษีอากร โทร 0-3572-9046 – ฝายเขตอุตสาหกรรมสงออก นิคมอุตสาหกรรมแปลงยาว สวนเขตปลอดอากร สํานักสิทธิประโยชน ทางภาษีอากร โทร 0-3857-5113 – ฝายบริการศุลกากรลําพูน ดานศุลกากรทาอากาศยานเชียงใหม สํานักงานนิคมอุตสาหกรรม ภาคเหนือ (ลําพูน) โทร. 053-581062 – สํานักงานศุลกากรแหลมฉบัง โทร 0-3840-0191 – สํานักงานศุลกากรภาคที่ 4โทร 0-7431-1014 – สํานักงาน/ดานศุลกากรที่นําเขาทุกแหงในวันและเวลาราชการ

43_free_trade_zone