ๆ
back to สารบัญ | |||
ตาราง 1.2 สรุปวิธีการวัดและหน่วยที่ใช้ในงานคอนกรีต | |||
(ว.ส.ท., 2548) | |||
ลำดับ | รายการ | วิธีการวัด | หน่วย |
1 | คอนกรีตหล่อในที่ | ||
1.1 | คอนกรีตโครงสร้างทั่วไป | ปริมาตรสุทธิตามแบบโดยไม่หักปริมาตร ที่ลดลงเนื่องจาก | ลบ.ม. |
– เหล็กเสริมคอนกรีต อุปกรณ์งานอัดแรง | |||
– ท่อน้ำ ท่อร้อยสายไฟฟ้า ร่องราง (rebates) ลบมุม (chamber) และช่องเปิด (openings) ที่พื้นที่หน้าตัดน้อยกว่า 0.01 ตร.ม. | |||
– ปริมาตรของแผ่นยางกันซึม (water stop) เหล็กเดือย (dowel bar) และรอยต่อ (joints) | |||
พื้นที่สุทธิตามแบบ | |||
1.2 | คอนกรีตมวลหยาบ (lean concrete) งานพื้นถนนและทางเท้าที่หนาน้อยกว่า 0.10 ม. | ความยาวสุทธิ | ตร.ม. |
งานคันหิน รางน้ำ | วัดเป็นจำนวนโดยกำหนดรายละเอียด | ||
1.3 | บ่อ (pits) ช่องเปิด | ||
1.4 | (blocks) แท่นเครื่อง | ||
(Pads) | ม. | ||
หน่วย | |||
2 | คอนกรีตหล่อสำเร็จ | ||
2.1 | แผ่นพื้น แผ่นกำแพง | พื้นที่สุทธิตามแบบ | ตร.ม. |
2.2 | คานและเสา | ความยาวสุทธิตามแบบ โดยระบุขนาดหน้าตัด | ม. |
จำนวนหน่วย โดยระบุขนาดหน้าตัดและความยาว | หน่วย | ||
2.3 | แป รางน้ำ คิ้ว ครอบ ชุด บันได | ความยาวสุทธิตามแบบ โดยระบุขนาดหน้าตัด | ม. |
คันหิน (curb0 | จำนวนหน่วย โดยระบุขนาดหน้าตัดและความยาว | หน่วย | |
2.4 | ความยาวสุทธิตามแบบ โดยระบุขนาดหน้าตัด | ม. | |
จำนวนหน่วย โดยระบุขนาดหน้าตัดและความยาว(กรณีโค้งระบุให้ชัด) | หน่วย | ||
งานตกแต่งชิ้นส่วน | ปริมาณเป็นพื้นที่สุทธิ | ||
2.5 | ตร.ม. | ||
3 | งานคอนกรีตอัดแรง | ||
3.1 | คอนกรีต | ดูงานคอนกรีตหล่อในที่หรือคอนกรีตหล่อสำเร็จ | |
3.2 | ลวดอัดแรง ลวดกลุ่ม | วัดเป็นหน่วยน้ำหนัก โดยระบุขนาด | กก. |
3.3 | ท่อร้อยลวดกลุ่ม (รวมงาน grouting) | วัดความยาวสุทธิตามแบบโดยไม่หักแท่นยึด (anchorage) | ม. |
แท่นยึด (anchorage) | วัดปริมาณสุทธิตามแบบ โดยรวม grip เป็นจำนวนหน่วย | ||
3.4 | หน่วย | ||
4 | งานเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับ | ||
คอนกรีต | |||
4.1 | คอนกรีตกันน้ำ | วัดแยกจากงานคอนกรีตทั่วไป | |
4.2 | งานตัด เซาะร่อง คอนกรีต เดิม | ความยาวสุทธิตามแบบ โดยระบุรายละเอียดเส้นรอบรูปของร่อง (grooves) หรือลายดุน (chases) | ม. |
รูเจาะและช่องเปิด | |||
4.3 | ขนาดเล็กกว่า 0.01 ตร.ม. | จำนวนหน่วย | |
ขนาดใหญ่กว่า 0.01 ตร.ม. | ปริมาตรสุทธิ โดยรวมงานตั้งและรื้อค้ำยัน นั่งร้านที่จำเป็นในงานนั้นด้วย | หน่วย | |
พื้นที่สุทธิตามแบบ โดยระบุความลึกของเจาะ | ลบ.ม. | ||
4.4 | เจาะผิวหน้าครอนกรีตไปถึงเหล็กเสริม | ตร.ม. | |
5 | งานไม้แบบ | ||
5.1 | ไม้แบบทั่วไป | พื้นที่สัมผัสของไม้แบบกับคอนกรีต โดยไม่หักช่องเปิดที่น้อยกว่า 1.00 ตร.ม. | ตร.ม. |
พื้นที่สัมผัสของไม้แบบกับคอนกรีต จากหน้าเสาถึงหน้าเสาโดยไม่หักพื้นที่ที่คานรองมาชน | |||
5.2 | ไม้แบบคาน | พื้นที่สัมผัสของไม้แบบกับคอนกรีต จากพื้นที่ชั้นแรก ถึงท้องพื้นชั้นถัดไป โดยไม่หักพื้นที่ที่คานมาชน | ตร.ม. |
5.3 | ไม้แบบเสา | ตร.ม. | |
5.4 | ไม้แบบพื้น | พื้นที่สุทธิตามแบบ โดยไม่หักพื้นที่ส่วนที่เสาผ่านและช่องเปิดมีขนาดเล็กกว่า 1.00 ตารางเมตร | ตร.ม. |
วัดแยกต่างหาก | |||
5.5 | ไม้แบบสำหรับพื้นผิว | ตร.ม. | |
คอนกรีตพิเศษ | จำนวนหน่วย โดยจัดเป็นหมวดหมู่ | ||
5.6 | ช่องเปิดสำหรับสลักยึด | หน่วย | |
(anchored block) รูเจาะ | |||
(cored holes) และช่องเปิดขนาดเล็ก | |||
งานลบมุมขนาดใหญ่กว่า | ความยาวสุทธิ โดยระบุรายละเอียด | ||
5.7 | 25มม.´25มม. | ม. | |
รอยต่อเผื่อขยายหรือรอยต่อในงานก่อสร้าง | ความยาวสุทธิ โดยระบุความกว้าง ลึก ของรอยต่อ | ||
5.8 | ม. | ||
6 | งานเหล็กเสริมคอนกรีต | ||
– วัดปริมาณตามระเบียนดัดเหล็ก | หน่วยน้ำหนัก โดยหาความยาวตามแบบ คูณด้วยน้ำหนักต่อหน่วย (ไม่รวมความสูญเสียเนื่องจากการตัด เหล็กที่ใช้ประกอบ และอื่น ๆ เพื่อยึดเหล็กเสริม) | กก. | |
หน่วยน้ำหนัก โดยหาความยาวแต่ละส่วนของโครงสร้างคูณด้วยน้ำหนักต่อหน่วย เมื่อได้น้ำหนักรวมแล้ว จึงทำการบวกเผื่อสำหรับระยะงอของต่อทาบ ดังนี้ | |||
– วัดปริมาณโดยวิธีประมาณ | ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง(มม.) บวกเผื่อ(%) | ||
6 5 | กก. | ||
9 7 | |||
12 9 | |||
16 11 | |||
20 13 | |||
25 ขึ้นไป 15 | |||
6 (ต่อ) | เหล็กเสริมแบบตะแกรง | วัดเป็นพื้นที่ โดยไม่คิดระยะทาบ สูญเสีย และ ช่องเปิด ขนาดเล็กกว่า 1.00 ตร.ม. | ตร.ม. |
วัดเป็นจำนวน | |||
รอยต่อพิเศษ | หน่วย | ||
ๆ
ๆ