ๆ
ตาราง 1.3 สรุปวิธีการวัดและหน่วยที่ใช้ในงานงานก่อ และงานฉาบ | |||
(ว.ส.ท., 2548) | |||
ลำดับ | รายการ | วิธีการวัด | หน่วย |
1 | งานอิฐและงานบล็อกต่าง ๆ | ปริมาณสุทธิตามแบบเป็นพื้นที่ ปริมาตร และความยาวตามประเภทของงานโดยไม่หัก | |
– ช่องเปิดที่มีขนาดพื้นที่น้อยกว่า 0.10 ตร.ม. | |||
– รอยต่อต่าง ๆ | |||
– ร่อง คิ้ว และลักษณะพื้นผิวอื่น ๆ ที่มีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่า 0.05 ตร.ม. | |||
– วัตถุอื่น ๆ ที่ผ่านซึ่งมีขนาดพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่า 0.01 ตร.ม. | |||
– กรอบล่าง (sill) ทับหลัง เสาเอ็น | |||
พื้นที่ | |||
ปริมาตร | |||
พื้นที่ โดยระบุรัศมีเฉลี่ย | |||
1.1 | งานอิฐ และบล็อกทั่วไป | ความยาว | ตร.ม. |
1.2 | งานก่อเป็นเสา | ลบ.ม. | |
1.3 | ก่ออิฐแนวโค้ง (arches) | ตร.ม. | |
1.4 | รอยต่อเผื่อขยาย | พื้นที่โดยระบุความกว้างในช่อง | ม. |
(expansion Joint) และ การอุดร่อง (caulking) | |||
1.5 | การกรอกคอนกรีต หรืออัดปูนเหลว ในช่องระหว่างการก่ออิฐ 2 ด้าน | ตร.ม. | |
ตาราง 1.3 (ต่อ) สรุปวิธีการวัดและหน่วยที่ใช้ในงานงานก่อ และงานฉาบ | |||
(ว.ส.ท., 2548) | |||
ลำดับ | รายการ | วิธีการวัด | หน่วย |
1.6 | ส่วนที่ยื่นออกมา | ให้วัดเป็นความยาวโดยระบุขนาด | ม. |
(projection) | |||
2 | งานฉาบ | ||
งานฉาบปูนทราย พ่นปูน | วัดเป็นพื้นที่สุทธิ (ตร.ม.) โดย | ตร.ม. | |
ทราย และงานฉาบยิปซัม | – ไม่หักช่องเปิดที่พื้นที่น้อยกว่า 0.10 ตร.ม. | ||
– งานฉาบซ่อมผิวเดิม หรือฉาบช่องเปิดที่มาก่อปิดโดยให้บวกเพิ่มระยะทุกด้านออกไปอีก 0.50 ม. | |||
– งานตะแกรงกรงไก่ (patent lath) กันแตกร้าวให้รวมอยู่ในงานฉาบ | |||
ความยาว | |||
ความยาว | |||
งานบัว ปูนปั้น คิ้ว | ม. | ||
ขอบมุมพลาสติกหรือโลหะ | ม. | ||
ๆ
ๆ
ๆ